วิกฤต ราคายาง ดิ่งฮวบ แนะรัฐบาลแก้ไข ดร.อุทัย สอนหลักทรัพย์

April 22, 2025
แชร์เนื้อหาหน้านี้

บทความอื่นๆ ที่คุณอาจจะสนใจ

ขอเรียนเชิญเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทำบทความวิชาการและสนับสนุนการตีพิมพ์ระดับนานาชาติด้านยางพารา

ขอเรียนเชิญเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทำบทความวิชาการและสนับสนุนการตีพิมพ์ระดับนานาชาติด้านยางพารา (ต้นน้ำ กลางน้ำ หรือปลายน้ำ) ซึ่งจัดขึ้นโดย ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านยางพารา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ในระหว่างวันที่ 24 – 25 มิถุนายน 2567 นี้ ผู้ที่มีความสนใจสามารถลงทะเบียน โดยสแกนได้จาก QR code หรือสามารถกดได้ที่ลิ้งค์ https://forms.gle/2JaLiDPYhLjYennEA ซึ่งสามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 17 มิถุนายน 2567 การอบรมในครั้งนี้ฟรี (free) ไม่เสียค่าใช้จ่าย และรับจำนวนจำกัด สามารถดูรายละเอียดการอบรมได้จาก QR code หรือสามารถกดได้ที่ลิ้งค์นี้ https://drive.google.com/file/d/1KYxODZ0Q72QkvdyiOCVknaNLst1tlhaa/view?usp=sharing

February 5, 2025

ข้อมูลสถิติยาง ประจำปี 2566

ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านยางพาราแวะมาแชร์ข้อมูลที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์กับเพื่อน ๆ คือ ข้อมูลสถิติยาง ประจำปี 2566 โดยกองการยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งได้รวบรวมข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้องกับยาง เช่น ผลผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณการส่งออกยางแต่ละประเภท และจำนวนโรงงานยางที่จดทะเบียนแล้ว เป็นต้น ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ตาม Link ที่แนบมาด้านล่างนี้https://search.app/kpFtmafrWJE4xXrB6

ลงพื้นที่ตรวจติดตามและขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ “สารลดกลิ่นเหม็นในยางก้อนถ้วยสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่ง”

ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านยางพารา วช. นำโดย รศ.ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ นำทีมลงพื้นที่ตรวจติดตามและขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ “สารลดกลิ่นเหม็นในยางก้อนถ้วยสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่ง” ซึ่งได้รับทุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมี รศ.ดร.นันทิยา หาญศุภลักษณ์ นักวิจัยจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ) ณ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด มหาชน สาขาอุบลราชธานี ซึ่งในการลงพื้นที่ครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์และความร่วมมือจากบริษัท ศรีตรังฯ ที่เป็นผู้ใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัยดังกล่าว โดยสารลดกลิ่นเหม็นในยางก้อนถ้วยนี้ถือเป็นหนึ่งในผลงานที่มีการนำไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและมีผลตอบรับจากผู้ใช้งานเป็นอย่างดี และในอนาคตจะมีการขยายผลการใช้ประโยชน์ของงานวิจัยนี้ไปที่สาขาอื่น ๆ ต่อไป